The Prachakorn

พฤติกรรมเนือยนิ่งและสุขภาพเมตาบอลิก


20 กรกฎาคม 2565
385



อาจารย์ ดร.วริศ วงศ์พิพิธ

มนุษย์ทุกคนมีกิจกรรมระหว่างพฤติกรรมการเคลื่อนไหวและไม่เคลื่อนไหวตลอดระยะเวลา 24 ชั่วโมง ทั้งหมด 3 กิจกรรม ได้แก่ 1) กิจกรรมทางกาย 2) พฤติกรรมเนือยนิ่ง และ 3) การนอน ซึ่งในมนุษย์แต่ละคนจะมีสัดส่วนของทั้ง 3 กิจกรรมที่แตกต่างกัน และหากมีสัดส่วนที่ไม่เหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน เช่น การใช้ระยะเวลาที่มากในพฤติกรรมเนือยนิ่ง และมีระยะเวลาในการมีกิจกรรมทางกายที่ความหนักระดับปานกลางถึงสูงที่น้อย อาจจะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวานชนิดที่สอง หรืออัตราการตายจากทุกสาเหตุได้ ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมเนือยนิ่งและสุขภาพเมตาบอลิกจะทำให้เข้าใจถึงกลไกของพฤติกรรมเนือยนิ่งที่ส่งผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและสามารถวางแผนส่งเสริมการลดพฤติกรรมเนือยนิ่งได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

สามารถติดตามรับชมย้อนหลังได้ที่ https://fb.watch/fQS8GLi8at/



CONTRIBUTOR

Related Posts
ติดรถ – รถติด ปลอดรถ – ลดพิษ

นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์

สารตั้งต้น เล่ม 1 และ 2

จีรวรรณ หงษ์ทอง

การส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ

กรกนก พงษ์ประดิษฐ์,ปิยวัฒน์ เกตุวงศา

นอนกี่ชั่วโมงคือเพียงพอ

นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์

คนไทยกับกิจกรรมทางกาย

นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์

อาชีพกับเรื่องอ้วนๆ

จงจิตต์ ฤทธิรงค์

อนาคตเด็กไทยหน้าติดจอ

นฤมล เหมะธุลิน,อภิชาติ แสงสว่าง

ในบั้นปลายแห่งชีวิต

ปราโมทย์ ประสาทกุล

โรคอ้วน

วรชัย ทองไทย

มาชะลอวัยกันเถอะ!

ปราโมทย์ ประสาทกุล

มาวิ่งกันเถอะ

นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์

Copyright © 2020 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
โทรศัพท์ 02-441-0201-4 โทรสาร 02-441-9333
Webmaster: piyawat.saw@mahidol.ac.th