มลพิษอากาศเป็นหนึ่งในปัญหาทางด้านสาธารณสุข เนื่องจากมลพิษอากาศส่งผลต่อการเจ็บป่วยและการตายก่อนวัยอันควรของประชากร และยังมีการศึกษาวิจัยที่แสดงถึงผลกระทบของมลพิษอากาศต่อสุขภาพจิต ความผิดปกติของระบบต่อมไร้ท่อ และความผิดปกติของทารกแรกเกิด การรับสัมผัสมลพิษอากาศทั้งระยะสั้นและระยะยาวเป็นหนึ่งในปัจจัยกำหนดสุขภาพทางสังคมที่สำคัญ อันเนื่องมาจากความแตกต่างทางโครงสร้างของสังคมส่งผลต่อการเพิ่มลดโอกาสของการรับสัมผัสมลพิษอากาศ เช่น เศรษฐฐานะของประชากร คุณภาพของที่อยู่อาศัย พื้นที่อยู่อาศัย การเข้าถึงพื้นที่สีเขียว และการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา เป็นต้น ซึ่งผลกระทบจากมลพิษอากาศเหล่านี้ย่อมเป็นผลกระทบระยะยาวทางด้านสุขภาพซึ่งสอดคล้องกับต้นทุนทางด้านสุขภาพของประชากร รวมถึงการเพิ่มขึ้นของกลุ่มเปราะบางต่อมลพิษอากาศ การจัดการผลกระทบจากมลพิษอากาศต่อสุขภาพอย่างยั่งยืนควรคำนึงถึงโครงสร้างทางสังคมของประชากรร่วมกับการกำหนดนโยบายของภาครัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของโอกาสและศักยภาพในการเข้าถึงอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการลดผลกระทบต่อสุขภาพ ถือเป็นส่วนสำคัญในการลดความเจ็บป่วยของประชากรไทยอันเนื่องมากจากมลพิษอากาศ
สามารถติดตามชมย้อนหลังได้ที่ https://fb.watch/9TXeo_2EnW/
วรรณี หุตะแพทย์
วรเทพ พูลสวัสดิ์
ปาริฉัตร นาครักษา
ปาริฉัตร นาครักษา,ขวัญฤทัย อมรดลใจ
วรชัย ทองไทย
กัญญา อภิพรชัยสกุล
นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์
สิรินทร์ยา พูลเกิด
กชกร พละไกร
นิพนธ์ ดาราวุฒิมาประกรณ์
ปราโมทย์ ประสาทกุล
มนสิการ กาญจนะจิตรา
ทิฆัมพร สิงโตมาศ
ปรียา พลอยระย้า
ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์
มนสิการ กาญจนะจิตรา
มนสิการ กาญจนะจิตรา
อมรา สุนทรธาดา
วริศรา ไข่ลือนาม
ศุทธิดา ชวนวัน
วรชัย ทองไทย
สักกรินทร์ นิยมศิลป์
ณัฐจีรา ทองเจริญชูพงศ์,กษมา ยาโกะ,ณัฐณิชา ลอยฟ้า,ธนพร เกิดแก้ว
วรชัย ทองไทย
สักกรินทร์ นิยมศิลป์
รีนา ต๊ะดี
สุภรต์ จรัสสิทธิ์
ชณุมา สัตยดิษฐ์