The Prachakorn

พฤติกรรมเนือยนิ่งและสุขภาพเมตาบอลิก


20 กรกฎาคม 2565
378



อาจารย์ ดร.วริศ วงศ์พิพิธ

มนุษย์ทุกคนมีกิจกรรมระหว่างพฤติกรรมการเคลื่อนไหวและไม่เคลื่อนไหวตลอดระยะเวลา 24 ชั่วโมง ทั้งหมด 3 กิจกรรม ได้แก่ 1) กิจกรรมทางกาย 2) พฤติกรรมเนือยนิ่ง และ 3) การนอน ซึ่งในมนุษย์แต่ละคนจะมีสัดส่วนของทั้ง 3 กิจกรรมที่แตกต่างกัน และหากมีสัดส่วนที่ไม่เหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถานการณ์และสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน เช่น การใช้ระยะเวลาที่มากในพฤติกรรมเนือยนิ่ง และมีระยะเวลาในการมีกิจกรรมทางกายที่ความหนักระดับปานกลางถึงสูงที่น้อย อาจจะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวานชนิดที่สอง หรืออัตราการตายจากทุกสาเหตุได้ ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมเนือยนิ่งและสุขภาพเมตาบอลิกจะทำให้เข้าใจถึงกลไกของพฤติกรรมเนือยนิ่งที่ส่งผลต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและสามารถวางแผนส่งเสริมการลดพฤติกรรมเนือยนิ่งได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

สามารถติดตามรับชมย้อนหลังได้ที่ https://fb.watch/fQS8GLi8at/



CONTRIBUTOR

Related Posts
การส่งเสริมกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ

กรกนก พงษ์ประดิษฐ์,ปิยวัฒน์ เกตุวงศา

คนไทยกับกิจกรรมทางกาย

นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์

อนาคตเด็กไทยหน้าติดจอ

นฤมล เหมะธุลิน,อภิชาติ แสงสว่าง

นอนกี่ชั่วโมงคือเพียงพอ

นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์

อาชีพกับเรื่องอ้วนๆ

จงจิตต์ ฤทธิรงค์

มาชะลอวัยกันเถอะ!

ปราโมทย์ ประสาทกุล

โรคอ้วน

วรชัย ทองไทย

มาวิ่งกันเถอะ

นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์

Copyright © 2020 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
โทรศัพท์ 02-441-0201-4 โทรสาร 02-441-9333
Webmaster: piyawat.saw@mahidol.ac.th