ศตวรรษที่ 21 นี้ ความเป็นพลเมืองโลกจะกลายเป็นวิถีชีวิตทั่วไปของมนุษยโลก ข้อมูลจากปี 2562 พบว่า 272 ล้านคนทั่วโลกมีการเคลื่อนย้ายข้ามประเทศ หรือคิดเป็น 3.5% โดยส่วนมากเป็นการเคลื่อนย้ายจากประเทศที่ด้อยพัฒนากว่า ไปยังประเทศที่พัฒนามากกว่า
ประเทศไทยเรา มีแรงงานข้ามชาติเข้ามาค่อนข้างมาก หากเทียบในระดับโลก พบว่า ประเทศไทยมีคนข้ามชาติย้ายมามากเป็นอันดับ 17 ของโลกทีเดียว
อย่างไรก็ตาม ภายใต้โลกที่กำลังเปลี่ยนอย่างรวดเร็วเช่นนี้ ประเทศไทยมีนโยบายในการรับมือกับแนวโน้มของพลเมืองโลกอย่างไร? นโยบายแรงงานข้ามชาติของประเทศไทยเอื้อต่อการขับเคลื่อนประเทศต่อไปในอนาคตหรือไม่? ประเทศไทยมีนโยบายในการดึงดูดแรงงานข้ามชาติที่มีทักษะอย่างเหมาะสมแล้วหรือไม่?
ติดตามหาคำตอบได้ ในหัวข้อ
โดย รศ.ดร.กฤตยา อาชวนิจกุล
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
และติดตามชม
โดย ผศ.ดร.สักกรินทร์ นิยมศิลป์
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
Facebook Watch: https://fb.watch/74Bp0oNDP6/
เว็บไซต์ เดอะประชากร (The Prachakorn): https://www.theprachakorn.com/prachakornforum
IPSR website: https://ipsr.mahidol.ac.th
Facebook: https://www.facebook.com/IPSRMAHIDOLUNIVERSITY และ https://www.facebook.com/ThePrachakorn
Twitter: https://twitter.com/IPSR_MU (@IPSR_MU)
Instagram: instagram.com/theprachakorn (@theprachakorn)
YouTube: https://www.youtube.com/c/MUIPSR
Line: https://lin.ee/0mxoQUH (@theprachakorn)
ปราโมทย์ ประสาทกุล
มนสิการ กาญจนะจิตรา
สักกรินทร์ นิยมศิลป์
กฤตยา อาชวนิจกุล,สักกรินทร์ นิยมศิลป์
ฉัตรชัย วัฒนไชยประทีป
โรยทราย วงศ์สุบรรณ
ณปภัช สัจนวกุล
จรัมพร โห้ลำยอง
จงจิตต์ ฤทธิรงค์
ศิรดา เขมานิฏฐาไท
กัญญา อภิพรชัยสกุล
เฉลิมพล แจ่มจันทร์
อมรา สุนทรธาดา
จงจิตต์ ฤทธิรงค์
ปราโมทย์ ประสาทกุล