สาธารณรัฐจีน หรือไต้หวัน เป็นหนึ่งในรัฐที่มีระบบประกันสุขภาพครอบคลุมประชากร และผู้มีสถานะเป็นผู้มีถิ่นอาศัยในประเทศทั้งหมด ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าของไต้หวันเริ่มขึ้นเมื่องปี 1995 ถูกบริหารผ่านกองทุน National Health Insurance ซึ่งอยู่ภายใต้ Ministry of Health and Welfare ก่อนหน้าการปฎิรูป ความครอบคลุมของประกันสุขภาพมีลักษณะเลือกกลุ่ม และมุ่งเป้าไปยังประชากรบางกลุ่มที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และความมั่นคงของรัฐ การขยายความครอบคลุมของระบบประกันสุขภาพ เริ่มขึ้นภายใต้บรรยากาศของการเปิดกว้างทางการเมืองในช่วงปลายทศวรรษ 1970 จนถึงทศวรรษที่ 1980 ที่นำไปสู่การเลือกตั้งฝ่ายบริหารโดยตรงในปี 1996 พรรคชาตินิยมจีน (Kuomintang: KMT) ซึ่งถืออำนาจแบบเบ็ดเสร็จตั้งแต่ปี 1949 จึงกลายเป็นผู้ผลักดันการปฎิรูประบบ เพื่อแย่งชิงความได้เปรียบทางการเมืองในสนามการเมืองที่มีความแข่งขันสูงขึ้น ไต้หวันจึงเป็นอีกตัวอย่างหนึ่งที่แสดงให้เห็นว่า วิวัฒนาการของระบบสุขภาพ เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับบริบททางการเมืองของประเทศ
มนสิการ กาญจนะจิตรา
กฤตยา อาชวนิจกุล
ณปภัช สัจนวกุล
จีรวรรณ หงษ์ทอง
ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์
ฉัตรชัย วัฒนไชยประทีป
กัญญา อภิพรชัยสกุล
เฉลิมพล แจ่มจันทร์
มงคล ธงชัยธนาวุฒิ
ณปภัช สัจนวกุล
อมรา สุนทรธาดา
สักกรินทร์ นิยมศิลป์
สุภรต์ จรัสสิทธิ์
วรชัย ทองไทย
วรชัย ทองไทย
ศุทธิดา ชวนวัน
ปราโมทย์ ประสาทกุล
อมรา สุนทรธาดา
สักกรินทร์ นิยมศิลป์
มนสิการ กาญจนะจิตรา
สิรินทร์ยา พูลเกิด
ปราโมทย์ ประสาทกุล
รัศมี ชูทรงเดช
ปาริฉัตร นาครักษา,สิรินทร์ยา พูลเกิด
ปราโมทย์ ประสาทกุล
เฉลิมพล แจ่มจันทร์
อมรา สุนทรธาดา
จงจิตต์ ฤทธิรงค์