The Prachakorn

เกิดอะไรขึ้นกับครอบครัวของแรงงานไทย เมื่อ COVID-19 มาเยือน


อารี จำปากลาย

01 กรกฎาคม 2563
663



แรงงานจากต่างจังหวัดที่เข้ามาทำงานในกรุงเทพฯ และเมืองใหญ่อื่น ๆ มีจำนวนไม่น้อย ในช่วงการระบาดของโควิดพวกเขามีทั้งที่ต้องกลับบ้าน และที่ยังอยู่ในถิ่นปลายทาง ที่สำคัญ ครอบครัวในถิ่นต้นทางของพวกเขา พ่อแม่ ลูก เป็นอย่างไร และต้องปรับตัวอย่างไรกันบ้าง ปี 2556 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ร่วมกับ UNICEF ประเทศไทย ได้สัมภาษณ์ครัวเรือนของแรงงานที่ไปทำงานที่อื่น และที่ไม่ได้ไป ใน 2 จังหวัดของไทย เป็นแรงงานที่มีลูกอายุไม่เกิน 3 ขวบ 7 ปีผ่านไป ช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม ปี 2563 เราได้พูดคุยกับพวกเขาอีกครั้ง ตอนนี้เด็ก ๆ อายุ 7-10 ขวบแล้ว เมื่อโควิดมาเคาะประตู ครัวเรือนเหล่านี้ ต้องพบเจออะไรกันบ้าง และพวกเขาปรับตัวกันอย่างไร เพื่อให้ชีวิตผ่านพ้นช่วงเวลาที่ไม่ปกตินี้ไปได้

Facebook Link: https://www.facebook.com/255818394487885/videos/3455451794466627



CONTRIBUTOR

Related Posts
COVID-19 โรคเปลี่ยนโลก

ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา

COVID-19 : รักษาระยะห่าง ดูแลระยะใจ 

พงษ์ศักดิ์ สกุลทักษิณ,ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์

ผู้หญิงในสถานการณ์โควิด-19

กัญญาพัชร สุทธิเกษม

ด้วยรักและโรคระบาด

ภัทราภรณ์ จึงเลิศศิริ

โกหกคำโต (big lie)

วรชัย ทองไทย

เมื่อโควิด-19 กำลังจะผ่านไป

ปราโมทย์ ประสาทกุล

เลี้ยงลูกในยุคโรคระบาด

มนสิการ กาญจนะจิตรา

ประชากรศาสตร์ของโควิด-19

ปราโมทย์ ประสาทกุล

ครอบครัวของเด็กซีอัลฟา

จงจิตต์ ฤทธิรงค์

อนาคตผู้สูงอายุไทย

ปราโมทย์ ประสาทกุล

บ้านคนแก่ของเพื่อนเก่า

ปราโมทย์ ประสาทกุล

ทุนสังคม พลังสังคม

ภูเบศร์ สมุทรจักร

คนไร้บ้านในสิงคโปร์

อมรา สุนทรธาดา

Copyright © 2020 สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
ตำบลศาลายา อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม 73170
โทรศัพท์ 02-441-0201-4 โทรสาร 02-441-9333
Webmaster: piyawat.saw@mahidol.ac.th