จดหมายข่าวฯ ฉบับนี้ ขอกล่าวถึง “การตาย” ซึ่งเป็นองค์ประกอบหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงทางประชากร การวิเคราะห์สถิติเรื่องสาเหตุการตายในบ้านเรายังไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ โดยพบว่า สาเหตุการตายในกลุ่ม “ไม่ทราบสาเหตุ” มีถึง 22.9% ของการตายทั้งหมด1 นอกจากนี้ในบางการตายที่ทราบสาเหตุก็อาจไม่ชัดแจ้งหรือไม่มั่นใจว่าจะถูกต้องหากผู้ให้สาเหตุการตายไม่ใช่แพทย์
จากสถิติการตาย ในปี 2563 พบว่า คนไทยตายด้วยโรคมะเร็งมากเป็นอันดับหนึ่ง (อัตราการตายสูงอันดับต้นๆ ต่อเนื่องมาหลายปี) ที่สอดคล้องกับสถานการณ์ของโลกที่มะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆ ของประชากรโลกเช่นเดียวกัน จนเมื่อปี 2000 มีการกำหนดให้วันที่ 4 กุมภาพันธ์ เป็นวันมะเร็งโลก (World Cancer Day) เพื่อให้ประชากรตระหนักถึงภัยของโรคมะเร็ง รวมถึงรณรงค์ให้หันมาสนใจสุขภาพของตนเองด้วย ทั้งนี้การตายของคนไทยด้วยสาเหตุมะเร็งอันดับหนึ่ง คือ มะเร็งตับ อันดับสอง มะเร็งหลอดคอ หลอดลมใหญ่และปอด และอันดับสาม มะเร็งเต้านม
อ้างอิง
ปราโมทย์ ประสาทกุล
อมรา สุนทรธาดา
ศุทธิดา ชวนวัน
ปราโมทย์ ประสาทกุล
รัศมี ชูทรงเดช
โซรยา จามจุรี
จงจิตต์ ฤทธิรงค์
ปราโมทย์ ประสาทกุล
กรกนก พงษ์ประดิษฐ์
มนสิการ กาญจนะจิตรา
กาญจนา เทียนลาย
วรชัย ทองไทย
วรชัย ทองไทย
ขวัญชนก ใจซื่อกุล
พรสุรีย์ จิวานานนท์
มนสิการ กาญจนะจิตรา
ปราโมทย์ ประสาทกุล
มนสิการ กาญจนะจิตรา
สาสินี เทพสุวรรณ์
เฉลิมพล แจ่มจันทร์
กาญจนา เทียนลาย
ปราโมทย์ ประสาทกุล
เพ็ญพิมล คงมนต์
สาสินี เทพสุวรรณ์,สิรินทร์ยา พูลเกิด
สักกรินทร์ นิยมศิลป์